messager
 
องค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว play_arrow กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

องค์การบริหารส่วนตำบล
หนองบัว
อำเภอศรีนคร จังหวัดสุโขทัย

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ยินดีต้อนรับ เข้าสู่เว็บไซต์ องค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว อำเภอศรีนคร จังหวัดสุโขทัย
place ข้อมูลทั่วไป(ประวัติความเป็นมา)
ข้อมูลทั่วไปของหน่วยงาน
ประวัติความเป็นมา ของ อบต. หนองบัว อดีตประชาชนส่วนใหญ่อพยพมาจาก ต.ปากน้ำ อ. สวรรคโลก เพื่อมาทำไร่-ทำนา เป็นการ ขยายพื้นที่ทำกิน เมื่อหมดฤดูทำไร่ - ทำนา ก็เดินทาง กลับตำบลปากน้ำ ต่อมาได้อพยพลูกหลานมาอาศัยทำกินอย่างถาวร เป็นหมู่บ้าน เล็กๆ อยู่ในความ ปกครองของ ต. ปากน้ำ และได้จัดตั้งหมู่บ้านหนองบัวขึ้นเป็นหมู่ที่1 ต.ปากน้ำ อ.สวรรคโลก โดยตั้งชื่อตามสภาพ ท้องถิ่น คือมีหนองน้ำ และมีบัวสีขาวเป็นจำนวนมาก ซึ่งปัจจุบันอยู่หน้าวัดหนองบัว ต่อมาปี พ ศ 2499 ทางราชการได้มีนโยาย จัดสรรค ที่ดินทำกิน โดยมี นิคม สหกรณ์ หนองบัว เป็นผู้จัดสรรคให้ผู้มีสิทธิ์ทำกินครอบครัวละ 30 ไร่ และมีผู้อพยพมาจับจอง พื้นที่ในเขต สหกรณ์หนองบัว ซึ่งส่วนใหญ่มาจาก จังหวัดนครราชสีมา (หมู่ที่ 2 ศิริ พัฒนาในปัจจุบัน) จังหวัดกาญจนบุรี (หมู่ 3 ไร่เมืองกาญจน์ ในปัจจุบัน) และ จังหวัดสมุทรสาคร(หมู่ที่ 8 นิคมสหกรณ์ในปัจจุบัน) บ้านหนองบัว ได้พัฒนา และมีคนอพยพ มาอยู่กันมาก จึงได้ตั้งเป็น " ตำบลหนองบัว" อ ศรีนคร จ. สุโขทัย โดยมีหมู่บ้านในการ ปกครองทั้งหมด 8 หมู่บ้าน
สภาพทั่วไป
ลักษณะที่ตั้ง ตำบลหนองบัวตั้งอยู่ ในเขตอำเภอศรีนคร จังหวัดสุโขทัย ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอศรีนคร จังหวัดสุโขทัย อยู่ห่างจากอำเภอศรีนคร ประมาณ 8 กิโลเมตร เนื้อที่ มีเนื้อที่ทั้งหมด 39.04 ตารางกิโลเมตร หรือ 24,440 ไร่ ที่ราบ 23,873 ไร่ พื้นน้ำ 587 ไร่ ภูมิประเทศ ภูมิประเทศเป็นที่ราบ ไม่มีพื้นที่ป่าไม้ พื้นที่ 30% อยู่ในเขตชลประทานโครงการบ่อน้ำใต้ดิน อีก 70% อยู่นอกเขตชลประทาน และพื้นที่เกือบทั้งหมดอยู่ในเขตนิคมสหกรณ์หนองบัว ซึ่งมีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อ ตำบลคลองมะพลับ อำเภอศรีนคร ทิศตะวันออก ติดต่อ ตำบลรุม อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ และ ติดต่อตำบลปากน้ำ อำเภอสวรรคโลก ทิศใต้ ติดต่อ ตำบลปากน้ำ อำเภอสวรรคโลก ทิศตะวันออก ติดต่อ ตำบลปากน้ำ และ ตำบลในเมือง อำเภอสวรรคโลก ข้อมูลการปกครอง ลำดับที่ ประเภท จำนวน ( แห่ง ) 1 หมู่บ้าน 8 แห่ง 2 เทศบาลตำบล - 3 องค์การบริหารส่วนตำบล 1 แห่ง ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ หมู่บ้าน เร่งรัดพัฒนา อันดับ 1 เร่งรัดพัฒนา อันดับ 2 เร่งรัดพัฒนา อันดับ 3 หมู่ที่1 สุขภาพอนามัย โครงสร้างพื้นฐาน ความเข้มแข็งของชุมชน หมู่ที่2 การมีที่ดินทำกิน น้ำเพื่อการเกษตร ความเข้มแข็งของชุมชน หมู่ที่3 การมีที่ดินทำกิน ถนน ความเข้มแข็งของชุมชน หมู่ที่4 การมีที่ดินทำกิน โครงสร้างพื้นฐาน ความเข้มแข็งของชุมชน หมู่ที่5 ด้านความรู้และการศึกษา ถนน โครงสร้างพื้นฐาน หมู่ที่6 สุขภาพอนามัย ถนน ความเข้มแข็งของชุมชน หมู่ที่7 การมีที่ดินทำกิน ถนน ความเข้มแข็งของชุมชน หมู่ที่8 การมีที่ดินทำกิน น้ำเพื่อการเกษตร สุขภาพอนามัย รวม ระดับการพัฒนาหมู่บ้านของตำบล ตัวชี้วัดปัญหาของตำบล ( 1-10 ปัญหา ) ลำดับปัญหา ดัชนีชี้วัด หมู่บ้านที่ประสบปัญหา จำนวน ร้อยละ 1 การมีที่ดินทำกิน 5 62.5% 2 การตรวจสุขภาพประจำปี 1 12.5% 3 เด็กอายุ 15 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี 1 12.5% 4 การกีฬา 4 50% 5 การได้รับการศึกษา 5 62.5% รายได้เฉลี่ยต่อคน / ปี ลำดับปัญหา ประเภท รายได้เฉลี่ยต่อคน / ปี ( บาท ) 1 ระดับอำเภอ - 2 ระดับตำบล - - - หมู่ที่1 33,136 บาท - - หมู่ที่2 43,249 บาท - - หมู่ที่3 40,182 บาท - - หมู่ที่4 32,595 บาท - - หมู่ที่5 31,938 บาท - - หมู่ที่6 33,436 บาท - - หมู่ที่7 43,319 บาท - - หมู่ที่8 38,568 บาท - รายได้เฉลี่ยต่อคน / ปี จังหวัด - ข้อมูลเศรฐกิจตำบล ลำดับที่ ประเภท จำนวน ( แห่ง ) เงินทุน ( บาท ) 1 กองทุนหมู่บ้าน 8 16,000,000 บาท 2 กองทุนสัจจะออมทรัพย์ 8 2,326,830 บาท 3 OTOP 2 ความเข้มแข็งของชุมชน ข้อมูลด้านสังคม การศึกษา ลำดับที่ ประเภท จำนวน(แห่ง) จำนวนครู(คน) จำนวนนักเรียน(คน) 1 โรงเรียนประถมศึกษา ( ขยายโอกาส ) 1 18 305 2 โรงเรียนมัธยมศึกษา - - - 3 โรงเรียนพระปริยัติธรรม - - - 4 ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ 1 2