messager
 
องค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว play_arrow กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

องค์การบริหารส่วนตำบล
หนองบัว
อำเภอศรีนคร จังหวัดสุโขทัย

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ยินดีต้อนรับ เข้าสู่เว็บไซต์ องค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว อำเภอศรีนคร จังหวัดสุโขทัย
folder สภาพทั่วไป
ที่ตั้งและอาณาเขตติดต่อ และลักษณะภูมิประเทศของตำบลหนองบัวตำบลหนองบัว ตั้งอยู่ในเขต อ.ศรีนคร จ.สุโขทัย ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอศรีนคร และอยู่ห่างจากอำเภอประมาณ 9 กิโลเมตร เป็นที่ราบไม่มีพื้นที่ป่าไม้ พื้นที่30% อยู่ในเขตชลประทานโครงการบ่อน้ำใต้ดิน อีก70% อยู่นอกเขตชลประทานและพื้นที่เกือบทั้งหมดอยู่ในเขตนิคมสหกรณ์หนองบัว ซึ่งมีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อ ต.คลองมะพลับ อ.ศรีนคร จ.สุโขทัย ทิศตะวันออก ติดต่อ ต.คอรุม อ.พิชัย จ.อุตรดิตถ์ และติดต่อ ต.ปากน้ำ อ.สวรรคโลก จ.สุโขทัย ทิศใต้ ติดต่อ ต.ปากน้ำ อ.สวรรคโลก จ.สุโขทัย ทิศตะวันตก ติดต่อ ต.ปากน้ำ อ.สวรรคโลก จ.สุโขทัย และ ต.ในเมือง อ.สวรรคโลก จ.สุโขทัย
ประวัติความเป็นมาของตำบลหนองบัว อดีตประชาชนส่วนใหญ่อพยพมาจาก ต.ปากน้ำ อ. สวรรคโลก เพื่อมาทำไร่-ทำนา เป็นการ ขยายพื้นที่ทำกิน เมื่อหมดฤดูทำไร่ - ทำนา ก็เดินทาง กลับตำบลปากน้ำ ต่อมาได้อพยพลูกหลานมาอาศัยทำกินอย่างถาวร เป็นหมู่บ้าน เล็กๆ อยู่ในความ ปกครองของ ต. ปากน้ำ และได้จัดตั้งหมู่บ้านหนองบัวขึ้นเป็นหมู่ที่1 ต.ปากน้ำ อ.สวรรคโลก โดยตั้งชื่อตามสภาพ ท้องถิ่น คือมีหนองน้ำ และมีบัวสีขาวเป็นจำนวนมาก ซึ่งปัจจุบันอยู่หน้าวัดหนองบัวต่อมาปี พ ศ 2499 ทางราชการได้มีนโยบาย จัดสรรค์ ที่ดินทำกิน โดยมี นิคม สหกรณ์ หนองบัว เป็นผู้จัดสรรค์ให้ผู้มีสิทธิ์ทำกินครอบครัวละ 30 ไร่ และมีผู้อพยพมาจับจอง พื้นที่ในเขต สหกรณ์หนองบัว ซึ่งส่วนใหญ่มาจาก จังหวัดนครราชสีมา (หมู่ที่ 2 ศิริ พัฒนาในปัจจุบัน) จังหวัดกาญจนบุรี (หมู่ 3 ไร่เมืองกาญจน์ ในปัจจุบัน) และ จังหวัดสมุทรสาคร(หมู่ที่ 8 นิคมสหกรณ์ในปัจจุบัน) บ้านหนองบัว ได้พัฒนา และมีคนอพยพ มาอยู่กันมาก จึงได้ตั้งเป็น " ตำบลหนองบัว" อ.ศรีนคร จ.สุโขทัย โดยมีหมู่บ้านในการ ปกครองทั้งหมด 8 หมู่บ้าน
สภาพทั่วไป
ที่ตั้งและอาณาเขตติดต่อ และลักษณะภูมิประเทศของตำบลหนองบัว

ตำบลหนองบัว ตั้งอยู่ในเขต อ.ศรีนคร จ.สุโขทัย ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอศรีนคร และอยู่ห่างจากอำเภอประมาณ 9 กิโลเมตร เป็นที่ราบไม่มีพื้นที่ป่าไม้ พื้นที่30% อยู่ในเขตชลประทานโครงการบ่อน้ำใต้ดิน อีก70% อยู่นอกเขตชลประทานและพื้นที่เกือบทั้งหมดอยู่ในเขตนิคมสหกรณ์หนองบัว ซึ่งมีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อ ต.คลองมะพลับ อ.ศรีนคร จ.สุโขทัย ทิศตะวันออก ติดต่อ ต.คอรุม อ.พิชัย จ.อุตรดิตถ์ และติดต่อ ต.ปากน้ำ อ.สวรรคโลก จ.สุโขทัย ทิศใต้ ติดต่อ ต.ปากน้ำ อ.สวรรคโลก จ.สุโขทัย ทิศตะวันตก ติดต่อ ต.ปากน้ำ อ.สวรรคโลก จ.สุโขทัย และ ต.ในเมือง อ.สวรรคโลก จ.สุโขทัย
ประวัติความเป็นมาของตำบลหนองบัว

อดีตประชาชนส่วนใหญ่อพยพมาจาก ต.ปากน้ำ อ. สวรรคโลก เพื่อมาทำไร่-ทำนา เป็นการ ขยายพื้นที่ทำกิน เมื่อหมดฤดูทำไร่ - ทำนา ก็เดินทาง กลับตำบลปากน้ำ ต่อมาได้อพยพลูกหลานมาอาศัยทำกินอย่างถาวร เป็นหมู่บ้าน เล็กๆ อยู่ในความ ปกครองของ ต. ปากน้ำ และได้จัดตั้งหมู่บ้านหนองบัวขึ้นเป็นหมู่ที่1 ต.ปากน้ำ อ.สวรรคโลก โดยตั้งชื่อตามสภาพ ท้องถิ่น คือมีหนองน้ำ และมีบัวสีขาวเป็นจำนวนมาก ซึ่งปัจจุบันอยู่หน้าวัดหนองบัวต่อมาปี พ ศ 2499 ทางราชการได้มีนโยบาย จัดสรรค์ ที่ดินทำกิน โดยมี นิคม สหกรณ์ หนองบัว เป็นผู้จัดสรรค์ให้ผู้มีสิทธิ์ทำกินครอบครัวละ 30 ไร่ และมีผู้อพยพมาจับจอง พื้นที่ในเขต สหกรณ์หนองบัว ซึ่งส่วนใหญ่มาจาก จังหวัดนครราชสีมา (หมู่ที่ 2 ศิริ พัฒนาในปัจจุบัน) จังหวัดกาญจนบุรี (หมู่ 3 ไร่เมืองกาญจน์ ในปัจจุบัน) และ จังหวัดสมุทรสาคร(หมู่ที่ 8 นิคมสหกรณ์ในปัจจุบัน) บ้านหนองบัว ได้พัฒนา และมีคนอพยพ มาอยู่กันมาก จึงได้ตั้งเป็น " ตำบลหนองบัว" อ.ศรีนคร จ.สุโขทัย โดยมีหมู่บ้านในการ ปกครองทั้งหมด 8 หมู่บ้าน
folder บริการพื้นฐาน
บริการพื้นฐาน
verified_user สินค้าOTOP
ปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดรอปรับปรุง
OTOP ปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด ตำบลหนองบัวเป็นตำบลนำร่องที่ส่งเสริมให้ เกษตรกรใช้สาร ชีวภาพทดแทนสารเคมี โดยองค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว ได้ใช้งบประมาณภายใต้โครงการ กระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ดำเนินการก่อสร้างอาคาร และจัดซื้อเครื่องจักร ในการผลิตปุ๋ย อินทรีย์ อัดเม็ด จากนั้นได้มีการจัดตั้งกลุ่มเกษตรผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด ซึ่งมีสมาชิกทั้งหมด 230 คน และได้ระดมหุ้นเพื่อใช้เป็นกองทุน ในการดำเนินการผลิต เป็นเงิน 76,200 บาท ทั้งนี้มีเป้าหมายที่จะส่งเสริมเกษตรกร ในตำบลหนองบัวทั้ง8หมู่บ้าน ได้ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมี เพื่อลดต้นทุนในการผลิตภาคเกษตรกรรม และสามารถขยายผลไปสู่ตำบลใกล้เคียง ทั้งนี้เพื่อตอบสนอง นโยบายรัฐบาล ในการผลิตพืชที่ปลอดภัย ให้ประเทศไทยเป็นครัวของโลก ในปีงบประมาณ 2547 - 2548 องค์การบริหารส่วนตำบล หนองบัวได้อุดหนุนงบประมาณแก่คณะกรรมการ การบริหารศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรตำบล หนองบัว เป็นเงิน 200,000 บาทเป็นกองทุนในการจัดซื้อวัสดุในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด ในปัจจุบันสามารถผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดจำหน่ายให้แก่เกษตรกร ในอัตรากระสอบละ 320 บาท น้ำหนัก35กิโลกรัม ทำให้เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิตลงจากเดิมถึงร้อยละ50 แผนงานในอนาคตมีโครงการที่จะผลิตปุ๋ยและสารสกัดชีวภาพ แบบครบวงจร โดยการของบประมาณจากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน เพื่อผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดและน้ำชีวภาพ เพื่อเป็นสินค้าของ ตำบลหนองบัว ตามโครงการสินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ( OTOP ) ตามยุทธศาสตร์จังหวัดสุโขทัยด้านที่4 ในเรื่องการท่องเที่ยว และสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์
OTOP กล้วย / เผือกอบเนย เป็นผลิตภัณฑ์ของกลุ่มแม่บ้านหมู่ที่ 8 บ้านนิคมสหกรณ์ ตำบลหนองบัว ซึ่งมีประธานกลุ่มได้แก่ นางพยอม สร้อยภุมมา ดำเนินการโดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณส่งเสริมอาชีพจากองค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว และผลิตภัณฑ์ได้รับเกียรติบัตรรับรอง เป็นผลิตภัณฑ์โอท็อบระดับ 4 ดาวของตำบลหนองบัว
กล้วย / เผือกอบเนยรอปรับปรุง
OTOP พริกแจวจินดาปลอดสารพิษ พริกแจวจินดาปลอดสารพิษ กลุ่มเกษตร กาญจนบุรีได้ตั้งขึ้นมา จากการรวมตัวกันของเกษตรกรที่ปลูกพริกพันธุ์ จินดาจำนวน 25 คน โดยเน้นการปลูกที่ปลอดภัยจากสารพิษ โดยการใช้ปุ๋ยหมักและสารสกัดจากธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่ ส่วนสารเคมีจะใช้เพียง กรณีมีโรคแมลงระบาดจำนวนมาก มีสมาชิกกลุ่มส่วนใหญ่อยู่ในหมู่ที่3 บ้านไร่เมืองกาญจน์ ตำบลหนองบัว อำเภอศรีนครเนื่องจาก ประชาชน ในหมู่ที่3 มีภูมิลำเนาเดิมมาจากกาญจนบุรี และอพยพถิ่นมาตั้งอยู่ที่ อำเภอศรีนคร จังหวัดสุโขทัย จึงใช้ชื่อว่า บ้านไร่ เมืองกาญจน ์ตาม ถิ่นฐานเดิมของตน และได้นำพันธุ์พริกจินดาซึ่งเคยปลูกกันมากที่จังหวัดกาญจนบุรี มาปลูกที่ตำบลหนองบัวโดย การส่งเสริมของ นิคม สหกรณ์หนองบัว พริกแจวจินดาสามารถสร้างรายได้ให้กับประชาชนตำบลหนองบัว โดยมีผลผลิตทั้งตำบล ประมาณ 244 ตัน มูลค่า48,886,000 บาทต่อปี
สินค้าOTOP
ปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด

รอปรับปรุง
OTOP ปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด

ตำบลหนองบัวเป็นตำบลนำร่องที่ส่งเสริมให้ เกษตรกรใช้สาร ชีวภาพทดแทนสารเคมี โดยองค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว ได้ใช้งบประมาณภายใต้โครงการ กระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน ดำเนินการก่อสร้างอาคาร และจัดซื้อเครื่องจักร ในการผลิตปุ๋ย อินทรีย์ อัดเม็ด จากนั้นได้มีการจัดตั้งกลุ่มเกษตรผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด ซึ่งมีสมาชิกทั้งหมด 230 คน และได้ระดมหุ้นเพื่อใช้เป็นกองทุน ในการดำเนินการผลิต เป็นเงิน 76,200 บาท ทั้งนี้มีเป้าหมายที่จะส่งเสริมเกษตรกร ในตำบลหนองบัวทั้ง8หมู่บ้าน ได้ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมี เพื่อลดต้นทุนในการผลิตภาคเกษตรกรรม และสามารถขยายผลไปสู่ตำบลใกล้เคียง ทั้งนี้เพื่อตอบสนอง นโยบายรัฐบาล ในการผลิตพืชที่ปลอดภัย ให้ประเทศไทยเป็นครัวของโลก ในปีงบประมาณ 2547 - 2548 องค์การบริหารส่วนตำบล หนองบัวได้อุดหนุนงบประมาณแก่คณะกรรมการ การบริหารศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรตำบล หนองบัว เป็นเงิน 200,000 บาทเป็นกองทุนในการจัดซื้อวัสดุในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด ในปัจจุบันสามารถผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดจำหน่ายให้แก่เกษตรกร ในอัตรากระสอบละ 320 บาท น้ำหนัก35กิโลกรัม ทำให้เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิตลงจากเดิมถึงร้อยละ50 แผนงานในอนาคตมีโครงการที่จะผลิตปุ๋ยและสารสกัดชีวภาพ แบบครบวงจร โดยการของบประมาณจากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน เพื่อผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดและน้ำชีวภาพ เพื่อเป็นสินค้าของ ตำบลหนองบัว ตามโครงการสินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ( OTOP ) ตามยุทธศาสตร์จังหวัดสุโขทัยด้านที่4 ในเรื่องการท่องเที่ยว และสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์
OTOP กล้วย / เผือกอบเนย

เป็นผลิตภัณฑ์ของกลุ่มแม่บ้านหมู่ที่ 8 บ้านนิคมสหกรณ์ ตำบลหนองบัว ซึ่งมีประธานกลุ่มได้แก่ นางพยอม สร้อยภุมมา ดำเนินการโดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณส่งเสริมอาชีพจากองค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว และผลิตภัณฑ์ได้รับเกียรติบัตรรับรอง เป็นผลิตภัณฑ์โอท็อบระดับ 4 ดาวของตำบลหนองบัว
กล้วย / เผือกอบเนย

รอปรับปรุง
OTOP พริกแจวจินดาปลอดสารพิษ

พริกแจวจินดาปลอดสารพิษ กลุ่มเกษตร กาญจนบุรีได้ตั้งขึ้นมา จากการรวมตัวกันของเกษตรกรที่ปลูกพริกพันธุ์ จินดาจำนวน 25 คน โดยเน้นการปลูกที่ปลอดภัยจากสารพิษ โดยการใช้ปุ๋ยหมักและสารสกัดจากธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่ ส่วนสารเคมีจะใช้เพียง กรณีมีโรคแมลงระบาดจำนวนมาก มีสมาชิกกลุ่มส่วนใหญ่อยู่ในหมู่ที่3 บ้านไร่เมืองกาญจน์ ตำบลหนองบัว อำเภอศรีนครเนื่องจาก ประชาชน ในหมู่ที่3 มีภูมิลำเนาเดิมมาจากกาญจนบุรี และอพยพถิ่นมาตั้งอยู่ที่ อำเภอศรีนคร จังหวัดสุโขทัย จึงใช้ชื่อว่า บ้านไร่ เมืองกาญจน ์ตาม ถิ่นฐานเดิมของตน และได้นำพันธุ์พริกจินดาซึ่งเคยปลูกกันมากที่จังหวัดกาญจนบุรี มาปลูกที่ตำบลหนองบัวโดย การส่งเสริมของ นิคม สหกรณ์หนองบัว พริกแจวจินดาสามารถสร้างรายได้ให้กับประชาชนตำบลหนองบัว โดยมีผลผลิตทั้งตำบล ประมาณ 244 ตัน มูลค่า48,886,000 บาทต่อปี
verified_user สถานที่สำคัญ
ศูนย์ผลิตอาหารชุมชนตำบลหนองบัว ประวัติความเป็นมา ของโครงการศูนย์ผลิตอาหารชุมชนตำบลหนองบัว (บึงลับแล)บริเวณบึงลับแลเดิมมีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มแอ่งกระทะ สภาพตัวบึงมีลักษณะเป็นแอ่งกระทะขนาดใหญ่แต่ตื้นเขิน ช่วงฤดูฝนจะมีน้ำท่วมมาก ฤดูแล้งน้ำจะแห้ง ราษฎรรอบๆบริเวณบึงได้ใช้ประโยชน์น้ำจาก บึงทำการเกษตรและการประมง ซึ่งเป็นแหล่งประมงที่สามารถเลี้ยงคนในพื้นที่ตำบลหนองบัว และตำบลข้างเคียง บริเวณกลางบึงมีหลายหน่วยงานเข้า ไปขุดเป็นสระน้ำขนาดใหญ่เพื่อกักเก็บน้ำให้ราษฎรได้ใช้ประโยชน์ ปี พ.ศ. 2483 กรมพัฒนาที่ดิน (ส่วนกลาง) ได้ประสานกับองค์การบริหารส่วน ตำบลหนองบัว ดำเนินการพัฒนาแหล่งน้ำในพื้นที่บึงลับแล หมู่ที่ 7 ต.หนองบัว อ.ศรีนคร จ.สุโขทัย เริ่มดำเนินการเดือน มกราคม 2545 แล้วเสร็จ เดือน กรกฏาคม 2545 งบประมาณ 14,339,000 บาท โดยมีลักษณะการก่อสร้าง ดังนี้ 1.) ขุดเป็นสระน้ำขนาดใหญ่บริเวณกลางบึงลับแล 2 สระ ความลึก 5 เมตรรวมเนื้อ ที่กักเก็บน้ำ 45 ไร่ 2.) ดินที่ได้จากการขุดสระนำมาถม และปรับเกลี่ยเป็นพื้นที่ ดังนี้ - พื้นที่ลานเอนกประสงค์ติดขอบสระทางด้านทิศตะวันออก ขนานไปกับความ ยาวของสระน้ำรวม พื้นที่ 32 ไร่ - พื้นที่เกษตรกรรมตัดขอบสระด้านทิศตะวันตก ขนานไปกับความยาวของสระ น้ำ เพื่อจัดรูปแบบเป็นแปลงสาธิตการปลูก พืชผักปลอดสารผิด รวมพื้นที่ 50 ไร่ ขุดเสร็จแล้วมีการปรับปรุงก้นบ่อโดยการใส่ปุ๋ยหมัก จำนวน 100 ตัน อัตรา 2 ตัน / ไร่ โดยจัดทำเป็นแปลงย่อยขนาด 1 ไร่ / ครัวเรือน บริเวณแปลงมีปั๊มน้ำ จำนวน 5 ตัว หัวจ่ายจำนวน 25 จุด - พื้นที่ถนนบริเวณรอบขอบสระแปลงเกษตรลานเอนกประสงค์และถนนเข้าบึง รวมพื้นที่ประมาณ 23 ไร่ - รวมพื้นที่โครงการ 150 ไร่ หลังจากการดำเนินการก่อสร้างกรมพัฒนาที่ดินได้ส่งมอบให้กับองค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว พัฒนาอาชีพในพื้นที่ในส่วนขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว ภายหลังได้รับมอบพื้นที่จากกรมการพัฒนาที่ดิน ได้จัดทำโครงการส่งเสริม ศูนย์ผลิตอาหารชุมชนตำบลหนองบัว (บึงลับแล) โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อจัดทำเป็นแปลงสาธิตการปลูกพืชผักปลอดสารผิดโดยคัดเลือกเกษตรกรที่มีฐานะยากจนใน พื้นที่ตำบลเป็นผู้ดำเนินการและเพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกร 2. เพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและเชิงอนุรักษ์ในอนาคต 3. เพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐบาลในการแก้ไข้ปัญหาความยากจนไร้ที่ทำกิน 4. เพื่อเป็นแหล่งผลิตอาหารของชุมชนตำบลหนองบัว วิธีการดำเนินงานในปี 2546 มีการคัดเลือกเกษตรเพื่อเข้าดำเนินการในพื้นที่ โดยการคัดเลือกเกษตรกรที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านของหมู่บ้านในพื้นที่ตำบลหนองบัวเท่านั้น โดยคัดเลือกตามลำดับดังนี้ ลำดับที่ 1. เป็นครัวเรือนที่ไม่มีที่ดินทำกิน และมีฐานะยากจน ลำดับที่ 2. เป็นครัวเรือนที่มีดินทำกินเล็กน้อยเพียงพอกับการครองชีพและมีที่ดินทำกิน ไม่เกิน 5 ไร่ /ครัวเรือน ลำดับที่ 3. เป็นเกษตรทั่วไปที่มีความพร้อมและความสมัครใจ มีผู้สมัครเข้าร่วมโครงการศูนย์ผลิตอาหารชุมชนตำบลหนองบัว (บึงลับแล) ในรุ่นแลกจำนวน 51 คนแต่ไม่ได้เข้าดำเนินกิจกรรมทางการเกษตรเพราะไม่มีความพร้อมในการบริหารจัดการ แต่ได้มีการประชุมเตรียมความพร้อมของสมาชิกผู้สมัครอยู่เสมอ ในปี พ.ศ.2547-2548 กรมส่งเสริมการเกษตรได้จัดทำโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งฟาร์ม โดยมอบหมายให้ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรตำบลหนองบัว เข้าดำเนินการโดยคัดเลือกเกษตรจากสมาชิกศูนย์ผลิตอาหารชุมชนตำบลหนองบัว เข้าดำเนินการกิจกรรมทำการเกษตรในพื้นที่ศูนย์ฯ ปลายปี พ.ศ.2549 ได้ประชุมสมาชิกกลุ่มเดิมเพื่อคัดเลือกผู้ที่มีความพร้อมและยังสนใจสมัครใจเข้าร่วมโครงการโดยมีผู้สนใจที่จะเข้าร่วม โครงการ จำนวน 26 คน เพื่อเข้าทำกิจกรรมเกษตรในปีพ.ศ.2550 ปี พ.ศ. 2550 กิจกรรมที่ดำเนินการในพื้นที่โครงการศูนย์ผลิตอาหารชุมชนตำบลหนองบัว(บึงลับแล) มีดังนี้ 1. โครงการแปลงสาธิตการปลูกและขยายพันธุ์พืชทดแทนพลังงาน (สบู่ดำ) เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนปี พ.ศ.2550 (เป็นโครงการตามแนวพระราชดำริ) จำนวน 6 ไร่ 2. โครงการส่งเสริมศูนย์ผลิตอาหารชุมชนตำบลหนองบัว (บึงลับแล) กิจกรรมการทำนาข้าว เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน ปี พ.ศ. 2550 จำนวน 44 ไร่ ดำเนินการไปแล้วหนึ่งรอบการผลิต 3. โครงการข้าวปลอดสารพิษ ของกรมพัฒนาที่ดินจังหวัดสุโขทัย 4. โครงการปลูกต้นไม้เฉลิมพระเกียรติตามแนวพระราชเสาวนีย์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาท ปี พ.ศ.2550
ศูนย์ผลิตอาหารชุมชนตำบลหนองบัวรอปรับปรุง
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองบัว ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองบัว เดิมสังกัดกรมอนามัย เริ่มเปิดการเรียนการสอนเมื่อปี พ.ศ. 2522 โดยใช้อาคารเอนกประสงค์ของสถานีอนามัยตำบลหนองบัวต่อมาในปี พ.ศ. 2539 ได้ย้ายมาใช้สถานที่อาคารเอนกประสงค์ของ โรงเรียนบ้านหนองบัวในขณะนั้นมีจำนวนเด็ก 20 คน ต่อมาในปี พ.ศ. 2540 กรมอนามัย ได้ถ่ายโอนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้แก่กรมพัฒนาชุมชน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองบัวยังดำเนินกิจกรรมเตรียมความพร้อมให้แก่เด็กก่อนวัยเรียนในพื้นที่และพื้นที่ใกล้เคียงจำนวน 36 คน จนกระทั่งปลายปี พ.ศ. 2542 กรมพัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดสุโขทัย ได้สนับสนุนงบประมาณฝึกอบรมอาชีพ ด้านการก่อสร้าง ให้กับประชาชน หมู่ที่ 8 และผู้เข้ารวมฝึกอบรมได้ฝึกทำการก่อสร้างอาคารในบริเวณโรงเรียนบ้านหนองบัว แต่ยังไม่เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยเท่าที่ควร คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนา เด็กเล็กฯได้ขอใช้อาคารดังกล่าวเพื่อใช้เป็นศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เนื่องจากอาคารดังกล่าวยังขาดประตูหน้าต่าง ตลอดจนทั้งยังไม่ได้ติดตั้งระบบไฟฟ้าในตัวอาคาร คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ และคณะครูโรงเรียนบ้านหนองบัวได้จัดงานบอลเพื่อหารายได้มาใชในการปรับปรุงอาคารให้เสร็จสมบูรณ์ ในปี พ.ศ. 2546 กรมพัฒนาชุมชนได้ถ่ายโอนภารกิจศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ให้แก่องค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว พร้อมกับถ่ายโอนบุคลากร ครูผู้ดูแลเด็ก จำนวน 2 คน มีเด็กจำนวน 45 คน ปี พ.ศ. 2548 อบต. หนองบัวได้จัดสรรงบประมาณในการซ่อมแซมอาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองบัวเพื่อให้เกิดความปลอดภัยและเป็นระเบียบเรีบยร้อยยิ่งขึ้น และในปีเดียวกันนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว ได้จัดทำโครงการขอใช้ที่ดินของนิคมสหกรณ์หนองบัวจำนวน 15 ไร่ เพื่อใช้เป็นที่ดำการก่อสร้างอาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์บริการประชาชน และสวนสุขภาพประจำตำบลหนองบัว ทั้งนี้ได้รับความรวมมือจากนิคมสหกรณ์หนองบัวเป็นอย่างดีจนได้รับการอนุญาตจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้องค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัวใช้ที่ดินแปลงบริเวณหน้าที่ทำการ อบต. ติดกับทางหลวงแผ่นดินสาย 1318 จำนวน 15 ไร่ โดยอนุญาตให้ใช้ได้ชั่งคราวละ 5 ปี ปี พ.ศ. 2549 องค์การบริการส่วนตำบลหนองบัว ได้ตั้งงบประมาณเพื่อดำเนินการก่อสร้างศูนย์พัฒนาด็กเล็กตำบลหนองบัว เป็นเงิน 2,135,037.53 บาท โดยนำตัวชี้วัดมาตรฐานด้านสถานที่ในการบริหารจัดการของศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ มาเป็นแนวทางในการจัดทำแบบแปลนก่อสร้างอาคาร ปี พ.ศ. 2550 องค์การบริหารตำบลหนองบัว ได้ตั้งงบประมาณเพื่อต่อเติม อาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองบัว เป็นเงิน 597,000 บาท ปัจจุบัน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองบัว มีครูผู้ดูแลจำนวน 4 คน และมีเด็กจำนวน 45 คน มีอาคารลักษณะเป็นอาคารประกอบ 2 หลังประกอบด้วยห้องต่างๆ ดังนี้ - ห้องเรียน 2 ห้อง - ห้องกิจกรรม - ห้องนอน - ห้องพักครู - ห้องเก็บพัสดุ - ห้องพยาบาล - ห้องรับประทานอาหาร - ห้องครัว - ห้องสุขา - ลานกิจกรรมบ่อน้ำ - บ่อทราย - ลานเด็กเล่น เป้าหมายในอนาคต องค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัวมีโครงการที่จะรับเด็กในพื้นที่เพิ่มขึ้นอีกประมาณ 15 คนรวมยอดทั้งหมด 60 คน และมุ่งที่จะขยายผลการให้บริการทางการศึกษาระดับประถมวัย โดยการศึกษาระดับอนุบาล โดยใช้งบประมาณของท้องถิ่น เพื่อพัฒนาการศึกษาระดับประถมวัยให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากที่สุดต่อไป
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองบัวรอปรับปรุง
ภาพแผนที่อบต.หนองบัวรอปรับปรุง
สถานที่สำคัญ
ศูนย์ผลิตอาหารชุมชนตำบลหนองบัว

ประวัติความเป็นมา ของโครงการศูนย์ผลิตอาหารชุมชนตำบลหนองบัว (บึงลับแล)บริเวณบึงลับแลเดิมมีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มแอ่งกระทะ สภาพตัวบึงมีลักษณะเป็นแอ่งกระทะขนาดใหญ่แต่ตื้นเขิน ช่วงฤดูฝนจะมีน้ำท่วมมาก ฤดูแล้งน้ำจะแห้ง ราษฎรรอบๆบริเวณบึงได้ใช้ประโยชน์น้ำจาก บึงทำการเกษตรและการประมง ซึ่งเป็นแหล่งประมงที่สามารถเลี้ยงคนในพื้นที่ตำบลหนองบัว และตำบลข้างเคียง บริเวณกลางบึงมีหลายหน่วยงานเข้า ไปขุดเป็นสระน้ำขนาดใหญ่เพื่อกักเก็บน้ำให้ราษฎรได้ใช้ประโยชน์ ปี พ.ศ. 2483 กรมพัฒนาที่ดิน (ส่วนกลาง) ได้ประสานกับองค์การบริหารส่วน ตำบลหนองบัว ดำเนินการพัฒนาแหล่งน้ำในพื้นที่บึงลับแล หมู่ที่ 7 ต.หนองบัว อ.ศรีนคร จ.สุโขทัย เริ่มดำเนินการเดือน มกราคม 2545 แล้วเสร็จ เดือน กรกฏาคม 2545 งบประมาณ 14,339,000 บาท โดยมีลักษณะการก่อสร้าง ดังนี้ 1.) ขุดเป็นสระน้ำขนาดใหญ่บริเวณกลางบึงลับแล 2 สระ ความลึก 5 เมตรรวมเนื้อ ที่กักเก็บน้ำ 45 ไร่ 2.) ดินที่ได้จากการขุดสระนำมาถม และปรับเกลี่ยเป็นพื้นที่ ดังนี้ - พื้นที่ลานเอนกประสงค์ติดขอบสระทางด้านทิศตะวันออก ขนานไปกับความ ยาวของสระน้ำรวม พื้นที่ 32 ไร่ - พื้นที่เกษตรกรรมตัดขอบสระด้านทิศตะวันตก ขนานไปกับความยาวของสระ น้ำ เพื่อจัดรูปแบบเป็นแปลงสาธิตการปลูก พืชผักปลอดสารผิด รวมพื้นที่ 50 ไร่ ขุดเสร็จแล้วมีการปรับปรุงก้นบ่อโดยการใส่ปุ๋ยหมัก จำนวน 100 ตัน อัตรา 2 ตัน / ไร่ โดยจัดทำเป็นแปลงย่อยขนาด 1 ไร่ / ครัวเรือน บริเวณแปลงมีปั๊มน้ำ จำนวน 5 ตัว หัวจ่ายจำนวน 25 จุด - พื้นที่ถนนบริเวณรอบขอบสระแปลงเกษตรลานเอนกประสงค์และถนนเข้าบึง รวมพื้นที่ประมาณ 23 ไร่ - รวมพื้นที่โครงการ 150 ไร่ หลังจากการดำเนินการก่อสร้างกรมพัฒนาที่ดินได้ส่งมอบให้กับองค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว พัฒนาอาชีพในพื้นที่ในส่วนขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว ภายหลังได้รับมอบพื้นที่จากกรมการพัฒนาที่ดิน ได้จัดทำโครงการส่งเสริม ศูนย์ผลิตอาหารชุมชนตำบลหนองบัว (บึงลับแล) โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อจัดทำเป็นแปลงสาธิตการปลูกพืชผักปลอดสารผิดโดยคัดเลือกเกษตรกรที่มีฐานะยากจนใน พื้นที่ตำบลเป็นผู้ดำเนินการและเพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกร 2. เพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและเชิงอนุรักษ์ในอนาคต 3. เพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐบาลในการแก้ไข้ปัญหาความยากจนไร้ที่ทำกิน 4. เพื่อเป็นแหล่งผลิตอาหารของชุมชนตำบลหนองบัว วิธีการดำเนินงานในปี 2546 มีการคัดเลือกเกษตรเพื่อเข้าดำเนินการในพื้นที่ โดยการคัดเลือกเกษตรกรที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านของหมู่บ้านในพื้นที่ตำบลหนองบัวเท่านั้น โดยคัดเลือกตามลำดับดังนี้ ลำดับที่ 1. เป็นครัวเรือนที่ไม่มีที่ดินทำกิน และมีฐานะยากจน ลำดับที่ 2. เป็นครัวเรือนที่มีดินทำกินเล็กน้อยเพียงพอกับการครองชีพและมีที่ดินทำกิน ไม่เกิน 5 ไร่ /ครัวเรือน ลำดับที่ 3. เป็นเกษตรทั่วไปที่มีความพร้อมและความสมัครใจ มีผู้สมัครเข้าร่วมโครงการศูนย์ผลิตอาหารชุมชนตำบลหนองบัว (บึงลับแล) ในรุ่นแลกจำนวน 51 คนแต่ไม่ได้เข้าดำเนินกิจกรรมทางการเกษตรเพราะไม่มีความพร้อมในการบริหารจัดการ แต่ได้มีการประชุมเตรียมความพร้อมของสมาชิกผู้สมัครอยู่เสมอ ในปี พ.ศ.2547-2548 กรมส่งเสริมการเกษตรได้จัดทำโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งฟาร์ม โดยมอบหมายให้ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรตำบลหนองบัว เข้าดำเนินการโดยคัดเลือกเกษตรจากสมาชิกศูนย์ผลิตอาหารชุมชนตำบลหนองบัว เข้าดำเนินการกิจกรรมทำการเกษตรในพื้นที่ศูนย์ฯ ปลายปี พ.ศ.2549 ได้ประชุมสมาชิกกลุ่มเดิมเพื่อคัดเลือกผู้ที่มีความพร้อมและยังสนใจสมัครใจเข้าร่วมโครงการโดยมีผู้สนใจที่จะเข้าร่วม โครงการ จำนวน 26 คน เพื่อเข้าทำกิจกรรมเกษตรในปีพ.ศ.2550 ปี พ.ศ. 2550 กิจกรรมที่ดำเนินการในพื้นที่โครงการศูนย์ผลิตอาหารชุมชนตำบลหนองบัว(บึงลับแล) มีดังนี้ 1. โครงการแปลงสาธิตการปลูกและขยายพันธุ์พืชทดแทนพลังงาน (สบู่ดำ) เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนปี พ.ศ.2550 (เป็นโครงการตามแนวพระราชดำริ) จำนวน 6 ไร่ 2. โครงการส่งเสริมศูนย์ผลิตอาหารชุมชนตำบลหนองบัว (บึงลับแล) กิจกรรมการทำนาข้าว เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน ปี พ.ศ. 2550 จำนวน 44 ไร่ ดำเนินการไปแล้วหนึ่งรอบการผลิต 3. โครงการข้าวปลอดสารพิษ ของกรมพัฒนาที่ดินจังหวัดสุโขทัย 4. โครงการปลูกต้นไม้เฉลิมพระเกียรติตามแนวพระราชเสาวนีย์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาท ปี พ.ศ.2550
ศูนย์ผลิตอาหารชุมชนตำบลหนองบัว

รอปรับปรุง
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองบัว

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองบัว เดิมสังกัดกรมอนามัย เริ่มเปิดการเรียนการสอนเมื่อปี พ.ศ. 2522 โดยใช้อาคารเอนกประสงค์ของสถานีอนามัยตำบลหนองบัวต่อมาในปี พ.ศ. 2539 ได้ย้ายมาใช้สถานที่อาคารเอนกประสงค์ของ โรงเรียนบ้านหนองบัวในขณะนั้นมีจำนวนเด็ก 20 คน ต่อมาในปี พ.ศ. 2540 กรมอนามัย ได้ถ่ายโอนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้แก่กรมพัฒนาชุมชน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองบัวยังดำเนินกิจกรรมเตรียมความพร้อมให้แก่เด็กก่อนวัยเรียนในพื้นที่และพื้นที่ใกล้เคียงจำนวน 36 คน จนกระทั่งปลายปี พ.ศ. 2542 กรมพัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดสุโขทัย ได้สนับสนุนงบประมาณฝึกอบรมอาชีพ ด้านการก่อสร้าง ให้กับประชาชน หมู่ที่ 8 และผู้เข้ารวมฝึกอบรมได้ฝึกทำการก่อสร้างอาคารในบริเวณโรงเรียนบ้านหนองบัว แต่ยังไม่เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยเท่าที่ควร คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนา เด็กเล็กฯได้ขอใช้อาคารดังกล่าวเพื่อใช้เป็นศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เนื่องจากอาคารดังกล่าวยังขาดประตูหน้าต่าง ตลอดจนทั้งยังไม่ได้ติดตั้งระบบไฟฟ้าในตัวอาคาร คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ และคณะครูโรงเรียนบ้านหนองบัวได้จัดงานบอลเพื่อหารายได้มาใชในการปรับปรุงอาคารให้เสร็จสมบูรณ์ ในปี พ.ศ. 2546 กรมพัฒนาชุมชนได้ถ่ายโอนภารกิจศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ให้แก่องค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว พร้อมกับถ่ายโอนบุคลากร ครูผู้ดูแลเด็ก จำนวน 2 คน มีเด็กจำนวน 45 คน ปี พ.ศ. 2548 อบต. หนองบัวได้จัดสรรงบประมาณในการซ่อมแซมอาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองบัวเพื่อให้เกิดความปลอดภัยและเป็นระเบียบเรีบยร้อยยิ่งขึ้น และในปีเดียวกันนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว ได้จัดทำโครงการขอใช้ที่ดินของนิคมสหกรณ์หนองบัวจำนวน 15 ไร่ เพื่อใช้เป็นที่ดำการก่อสร้างอาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์บริการประชาชน และสวนสุขภาพประจำตำบลหนองบัว ทั้งนี้ได้รับความรวมมือจากนิคมสหกรณ์หนองบัวเป็นอย่างดีจนได้รับการอนุญาตจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้องค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัวใช้ที่ดินแปลงบริเวณหน้าที่ทำการ อบต. ติดกับทางหลวงแผ่นดินสาย 1318 จำนวน 15 ไร่ โดยอนุญาตให้ใช้ได้ชั่งคราวละ 5 ปี ปี พ.ศ. 2549 องค์การบริการส่วนตำบลหนองบัว ได้ตั้งงบประมาณเพื่อดำเนินการก่อสร้างศูนย์พัฒนาด็กเล็กตำบลหนองบัว เป็นเงิน 2,135,037.53 บาท โดยนำตัวชี้วัดมาตรฐานด้านสถานที่ในการบริหารจัดการของศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ มาเป็นแนวทางในการจัดทำแบบแปลนก่อสร้างอาคาร ปี พ.ศ. 2550 องค์การบริหารตำบลหนองบัว ได้ตั้งงบประมาณเพื่อต่อเติม อาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองบัว เป็นเงิน 597,000 บาท ปัจจุบัน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองบัว มีครูผู้ดูแลจำนวน 4 คน และมีเด็กจำนวน 45 คน มีอาคารลักษณะเป็นอาคารประกอบ 2 หลังประกอบด้วยห้องต่างๆ ดังนี้ - ห้องเรียน 2 ห้อง - ห้องกิจกรรม - ห้องนอน - ห้องพักครู - ห้องเก็บพัสดุ - ห้องพยาบาล - ห้องรับประทานอาหาร - ห้องครัว - ห้องสุขา - ลานกิจกรรมบ่อน้ำ - บ่อทราย - ลานเด็กเล่น เป้าหมายในอนาคต องค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัวมีโครงการที่จะรับเด็กในพื้นที่เพิ่มขึ้นอีกประมาณ 15 คนรวมยอดทั้งหมด 60 คน และมุ่งที่จะขยายผลการให้บริการทางการศึกษาระดับประถมวัย โดยการศึกษาระดับอนุบาล โดยใช้งบประมาณของท้องถิ่น เพื่อพัฒนาการศึกษาระดับประถมวัยให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากที่สุดต่อไป
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองบัว

รอปรับปรุง
ภาพแผนที่อบต.หนองบัว

รอปรับปรุง
info_outline วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์หน่วยงาน พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน สร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี มีการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม และน้อมนำเศรษฐกิจพอเพียง
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์หน่วยงาน

พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน สร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี มีการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม และน้อมนำเศรษฐกิจพอเพียง
folder ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ยุทธศาสตร์ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 1.1 ก่อสร้าง ปรับปรุงและบำรุงรักษาถนน ท่อระบายน้ำ ท่อลอดเหลี่ยม ท่อลอดถนน 1.2 ขยายเขตไฟฟ้าและบำรุงรักษาไฟฟ้าสาธารณะ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 2.1 แนวทางแก้ไขปัญหาน้ำท่วมขังในพื้นที่การเกษตร 2.2 แก้ไขปัญหาขาดแคลนน้ำเพื่ออุปโภค บริโภคและการเกษตร 2.3 ปรับปรุงคลองระบายน้ำ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมอาชีพและเศรษฐกิจ 3.1 ส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตร์ที่ 4 ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต 4.1 พัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาสและผู้ป่วยเอดส์ 4.2 ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน 4.3 ส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี 4.4 การบริหารจัดการขยะในชุมชน ป้องกันภัยยาเสพติดและบรรเทาสาธารณภัย ยุทธศาสตร์ที่ 5 ส่งเสริมวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 5.1 ส่งเสริมวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่นและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 6 ส่งเสริมด้านการบริหารจัดการภาครัฐที่ดี 6.1 ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรและหน่วยงาน 6.2 สนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน 6.3 ส่งเสริมการบริหารราชการตามหลักธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร์

ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

1.1 ก่อสร้าง ปรับปรุงและบำรุงรักษาถนน ท่อระบายน้ำ ท่อลอดเหลี่ยม ท่อลอดถนน

1.2 ขยายเขตไฟฟ้าและบำรุงรักษาไฟฟ้าสาธารณะ

 

ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ

2.1 แนวทางแก้ไขปัญหาน้ำท่วมขังในพื้นที่การเกษตร

2.2 แก้ไขปัญหาขาดแคลนน้ำเพื่ออุปโภค บริโภคและการเกษตร

2.3 ปรับปรุงคลองระบายน้ำ

ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมอาชีพและเศรษฐกิจ

3.1 ส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง

ยุทธศาสตร์ที่ 4 ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต

4.1 พัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาสและผู้ป่วยเอดส์

4.2 ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน

4.3 ส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี

4.4 การบริหารจัดการขยะในชุมชน  ป้องกันภัยยาเสพติดและบรรเทาสาธารณภัย

 

ยุทธศาสตร์ที่ 5 ส่งเสริมวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

5.1 ส่งเสริมวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่นและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ยุทธศาสตร์ที่ 6 ส่งเสริมด้านการบริหารจัดการภาครัฐที่ดี

6.1 ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรและหน่วยงาน

6.2 สนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน

6.3 ส่งเสริมการบริหารราชการตามหลักธรรมาภิบาล

ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ยุทธศาสตร์

ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 1.1 ก่อสร้าง ปรับปรุงและบำรุงรักษาถนน ท่อระบายน้ำ ท่อลอดเหลี่ยม ท่อลอดถนน 1.2 ขยายเขตไฟฟ้าและบำรุงรักษาไฟฟ้าสาธารณะ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 2.1 แนวทางแก้ไขปัญหาน้ำท่วมขังในพื้นที่การเกษตร 2.2 แก้ไขปัญหาขาดแคลนน้ำเพื่ออุปโภค บริโภคและการเกษตร 2.3 ปรับปรุงคลองระบายน้ำ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมอาชีพและเศรษฐกิจ 3.1 ส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตร์ที่ 4 ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต 4.1 พัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาสและผู้ป่วยเอดส์ 4.2 ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน 4.3 ส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี 4.4 การบริหารจัดการขยะในชุมชน ป้องกันภัยยาเสพติดและบรรเทาสาธารณภัย ยุทธศาสตร์ที่ 5 ส่งเสริมวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 5.1 ส่งเสริมวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่นและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 6 ส่งเสริมด้านการบริหารจัดการภาครัฐที่ดี 6.1 ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรและหน่วยงาน 6.2 สนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน 6.3 ส่งเสริมการบริหารราชการตามหลักธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร์

ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

1.1 ก่อสร้าง ปรับปรุงและบำรุงรักษาถนน ท่อระบายน้ำ ท่อลอดเหลี่ยม ท่อลอดถนน

1.2 ขยายเขตไฟฟ้าและบำรุงรักษาไฟฟ้าสาธารณะ

 

ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ

2.1 แนวทางแก้ไขปัญหาน้ำท่วมขังในพื้นที่การเกษตร

2.2 แก้ไขปัญหาขาดแคลนน้ำเพื่ออุปโภค บริโภคและการเกษตร

2.3 ปรับปรุงคลองระบายน้ำ

ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมอาชีพและเศรษฐกิจ

3.1 ส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง

ยุทธศาสตร์ที่ 4 ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต

4.1 พัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาสและผู้ป่วยเอดส์

4.2 ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน

4.3 ส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี

4.4 การบริหารจัดการขยะในชุมชน  ป้องกันภัยยาเสพติดและบรรเทาสาธารณภัย

 

ยุทธศาสตร์ที่ 5 ส่งเสริมวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

5.1 ส่งเสริมวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่นและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ยุทธศาสตร์ที่ 6 ส่งเสริมด้านการบริหารจัดการภาครัฐที่ดี

6.1 ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรและหน่วยงาน

6.2 สนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน

6.3 ส่งเสริมการบริหารราชการตามหลักธรรมาภิบาล

folder โครงสร้างองค์กร
find_in_page โครงสร้างส่วนราชการองค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว poll
เผยแพร่วันที่ : 16 มกราคม 2566 | โดย : admin | เปิดอ่าน : pageview162
โครงสร้างองค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว poll
เผยแพร่วันที่ : 16 มกราคม 2566 | โดย : สำนักปลัด | เปิดอ่าน : pageview58

folder บทบาทหน้าที่
6.กองส่งเสริมการเกษตร มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับส่งเสริมกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง ฝึกอบรมและให้คำ ปรึกษาแนะนำ ในการปฏิบัติการให้แก้เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมาตอบปัญหาและชี้แจงเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับงานในหน้าที่ เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการต่าง ๆ ตามที่ได้รับความแต่งตั้ง เข้าร่วมประชุมในการกำหนดนโยบายและแผนงานของส่วนราชการที่สังกัด และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องในฐานะหัวหน้าหน่วยงาน นอกจากอาจปฏิบัติงานดังกล่าวข้างต้นบ้างแล้วยังทำหน้าที่กำหนดนโยบายการปฏิบัติงาน พิจารณาวางอัตรากำลังเจ้าหน้าที่และงบประมาณของหน่วยงานที่รับผิดชอบ ติดต่อประสานงาน วางแผน มอบหมายงาน วินิจฉัย สั่งการควบคุม ตรวจสอบ ให้คำปรึกษา แนะนำ ปรับปรุงแก้ไข ติดตามประเมินผล และแก้ปัญหาขัดข้องในการปฏิบัติงานในหน่วยงานที่รับผิดชอบด้วย 6.1 งานส่งเสริมการเกษตร 6.2 งานปศุสัตว์
5.กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีหน้าที่ความรับรับผิดชอบเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางการศึกษาเกี่ยวกับ การวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาหลักสูตร การแนะแนว การวัดผล ประเมินผล การพัฒนาตำราเรียน การวางแผนการศึกษา ของมาตรฐานสถานศึกษา การจัดบริการส่งเสริมการศึกษา การใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา การเสนอแนะ เกี่ยวกับ การศึกษา ส่งเสริมการวิจัย การวางโครงการ สำรวจ เก็บรวบรวมข้อมูลสถิติการศึกษาเพื่อนำไปประกอบการพิจารณา กำหนดนโยบาย แผนงาน และแนวทางการปฏิบัติในการจัดการศึกษา การเผยแพร่การศึกษาและ ปฏิบัติหน้าที่อื่น ที่เกี่ยวข้องกองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีภาระหน้าที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางการศึกษาเกี่ยวกับ การวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาหลักสูตร การแนะแนว การวัดผล ประเมินผล การพัฒนาตำราเรียน การวางแผนการศึกษา ของมาตรฐานสถานศึกษา การจัดบริการส่งเสริมการศึกษา การใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา การเสนอแนะ เกี่ยวกับ การศึกษา ส่งเสริมการวิจัย การวางโครงการ สำรวจ เก็บรวบรวมข้อมูลสถิติการศึกษาเพื่อนำไปประกอบการพิจารณา กำหนดนโยบาย แผนงานและแนวทางการปฏิบัติในการจัดการศึกษา และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องหรือได้รับมอบหมาย 5.1 งานบริหารการศึกษา 5.2.งานส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม การท่องเที่ยวและกีฬา 5.3 งานกิจการโรงเรียน
4.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับ การควบคุมโรค การสุขาภิบาลอื่น ๆ ตามแผนการสาธารณสุข และข้อบังคับตำบล การวางแผนการสาธารณสุข การประมวล ผลและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติที่เกี่ยวข้องกับสาธารณสุข งานด้านสิ่งแวดล้อม การให้บริการสาธารณสุขเกี่ยวกับ งานสุขาภิบาล งานอาชีวอนามัย งานการเฝ้าระวัง งานระบาดวิทยา งานโรคติดต่อและสัตว์นำโรค งานโรคเอดส์ งานส่งเสริมและเผยแพร่ งานควบคุมมลพิษ งานศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม งานติดตามตรวจสอบ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องหรือได้รับมอบหมาย 4.1 งานส่งเสริมสุขภาพ 4.2 งานควบคุมและจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม 4.3 งานอนามัยสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม 4.4 งานรักษาความสะอาด 4.5 งานควบคุมโรค 4.6 งานบริการสาธารณสุข
3.กองช่าง มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการสำรวจ งานออกแบบและเขียนแบบ การตรวจสอบการก่อสร้าง งานประมาณราคาค่าก่อสร้าง งานการควบคุมอาคารตามระเบียบ กฎหมาย งานแผนการปฏิบัติงาน การก่อสร้างและซ่อมบำรุง การควบคุมการก่อสร้างและซ่อมบำรุง งานแผนงานด้านวิศวกรรม เครื่องจักรกล การรวบรวมประวัติติดตาม ควบคุมการปฏิบัติงานเครื่องจักรกล การควบคุมการบำรุงรักษาเครื่องจักรและยานพาหนะ งานเกี่ยวกับแผนงาน ควบคุม งานสำรวจรวบรวมข้อมูลทางด้านผังเมืองงานอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทางบก ทางน้ำ งานตรวจสอบโครงการพัฒนาผังเมือง และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย 3.1 งานก่อสร้าง 3.2 งานสำรวจ 3.3 งานออกแบบควบคุมอาคาร 3.4 งานประสานสาธารณูปโภค 3.5 งานผังเมือง
2.กองคลัง มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดทำบัญชีและทะเบียนรับ - จ่ายเงินทุกประเภท งานเกี่ยวกับการเงิน การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนำส่งเงิน การฝากเงิน การตรวจเงิน องค์การบริหารส่วนตำบล รวบรวมสถิติเงินได้ประเภทต่าง ๆ การเบิกตัดปี การขยายเวลาเบิกจ่ายงบประมาณ การหักภาษีและนำส่ง รายงานเงินคงเหลือประจำ การรับและจ่ายขาดเงินสะสมขององค์การบริหารส่วนตำบล การยืมเงินทดรองราชการ การจัดหาผลประโยชน์จากสิ่งก่อสร้างและทรัพย์สิน ตรวจสอบงานของจังหวัดและสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน การเร่งรัดใบสำคัญและเงินยืมค้างชำระ การจัดเก็บภาษี การประเมินภาษี การเร่งรัดจัดเก็บรายได้ การพัฒนารายได้ การออกใบอนุญาตและค่าธรรมเนียมต่าง ๆ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง 2.1 งานบริหารงานคลัง 2.2 งานการเงิน 2.3 งานบัญชี 2.4 งานพัฒนาจัดเก็บรายได้ 2.5 งานทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ
บทบาทหน้าที่
6.กองส่งเสริมการเกษตร

มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับส่งเสริมกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง ฝึกอบรมและให้คำ ปรึกษาแนะนำ ในการปฏิบัติการให้แก้เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมาตอบปัญหาและชี้แจงเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับงานในหน้าที่ เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการต่าง ๆ ตามที่ได้รับความแต่งตั้ง เข้าร่วมประชุมในการกำหนดนโยบายและแผนงานของส่วนราชการที่สังกัด และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องในฐานะหัวหน้าหน่วยงาน นอกจากอาจปฏิบัติงานดังกล่าวข้างต้นบ้างแล้วยังทำหน้าที่กำหนดนโยบายการปฏิบัติงาน พิจารณาวางอัตรากำลังเจ้าหน้าที่และงบประมาณของหน่วยงานที่รับผิดชอบ ติดต่อประสานงาน วางแผน มอบหมายงาน วินิจฉัย สั่งการควบคุม ตรวจสอบ ให้คำปรึกษา แนะนำ ปรับปรุงแก้ไข ติดตามประเมินผล และแก้ปัญหาขัดข้องในการปฏิบัติงานในหน่วยงานที่รับผิดชอบด้วย 6.1 งานส่งเสริมการเกษตร 6.2 งานปศุสัตว์
5.กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

มีหน้าที่ความรับรับผิดชอบเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางการศึกษาเกี่ยวกับ การวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาหลักสูตร การแนะแนว การวัดผล ประเมินผล การพัฒนาตำราเรียน การวางแผนการศึกษา ของมาตรฐานสถานศึกษา การจัดบริการส่งเสริมการศึกษา การใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา การเสนอแนะ เกี่ยวกับ การศึกษา ส่งเสริมการวิจัย การวางโครงการ สำรวจ เก็บรวบรวมข้อมูลสถิติการศึกษาเพื่อนำไปประกอบการพิจารณา กำหนดนโยบาย แผนงาน และแนวทางการปฏิบัติในการจัดการศึกษา การเผยแพร่การศึกษาและ ปฏิบัติหน้าที่อื่น ที่เกี่ยวข้องกองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีภาระหน้าที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางการศึกษาเกี่ยวกับ การวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาหลักสูตร การแนะแนว การวัดผล ประเมินผล การพัฒนาตำราเรียน การวางแผนการศึกษา ของมาตรฐานสถานศึกษา การจัดบริการส่งเสริมการศึกษา การใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา การเสนอแนะ เกี่ยวกับ การศึกษา ส่งเสริมการวิจัย การวางโครงการ สำรวจ เก็บรวบรวมข้อมูลสถิติการศึกษาเพื่อนำไปประกอบการพิจารณา กำหนดนโยบาย แผนงานและแนวทางการปฏิบัติในการจัดการศึกษา และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องหรือได้รับมอบหมาย 5.1 งานบริหารการศึกษา 5.2.งานส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม การท่องเที่ยวและกีฬา 5.3 งานกิจการโรงเรียน
4.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับ การควบคุมโรค การสุขาภิบาลอื่น ๆ ตามแผนการสาธารณสุข และข้อบังคับตำบล การวางแผนการสาธารณสุข การประมวล ผลและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติที่เกี่ยวข้องกับสาธารณสุข งานด้านสิ่งแวดล้อม การให้บริการสาธารณสุขเกี่ยวกับ งานสุขาภิบาล งานอาชีวอนามัย งานการเฝ้าระวัง งานระบาดวิทยา งานโรคติดต่อและสัตว์นำโรค งานโรคเอดส์ งานส่งเสริมและเผยแพร่ งานควบคุมมลพิษ งานศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม งานติดตามตรวจสอบ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องหรือได้รับมอบหมาย 4.1 งานส่งเสริมสุขภาพ 4.2 งานควบคุมและจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม 4.3 งานอนามัยสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม 4.4 งานรักษาความสะอาด 4.5 งานควบคุมโรค 4.6 งานบริการสาธารณสุข
3.กองช่าง

มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการสำรวจ งานออกแบบและเขียนแบบ การตรวจสอบการก่อสร้าง งานประมาณราคาค่าก่อสร้าง งานการควบคุมอาคารตามระเบียบ กฎหมาย งานแผนการปฏิบัติงาน การก่อสร้างและซ่อมบำรุง การควบคุมการก่อสร้างและซ่อมบำรุง งานแผนงานด้านวิศวกรรม เครื่องจักรกล การรวบรวมประวัติติดตาม ควบคุมการปฏิบัติงานเครื่องจักรกล การควบคุมการบำรุงรักษาเครื่องจักรและยานพาหนะ งานเกี่ยวกับแผนงาน ควบคุม งานสำรวจรวบรวมข้อมูลทางด้านผังเมืองงานอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทางบก ทางน้ำ งานตรวจสอบโครงการพัฒนาผังเมือง และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย 3.1 งานก่อสร้าง 3.2 งานสำรวจ 3.3 งานออกแบบควบคุมอาคาร 3.4 งานประสานสาธารณูปโภค 3.5 งานผังเมือง
2.กองคลัง

มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดทำบัญชีและทะเบียนรับ - จ่ายเงินทุกประเภท งานเกี่ยวกับการเงิน การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนำส่งเงิน การฝากเงิน การตรวจเงิน องค์การบริหารส่วนตำบล รวบรวมสถิติเงินได้ประเภทต่าง ๆ การเบิกตัดปี การขยายเวลาเบิกจ่ายงบประมาณ การหักภาษีและนำส่ง รายงานเงินคงเหลือประจำ การรับและจ่ายขาดเงินสะสมขององค์การบริหารส่วนตำบล การยืมเงินทดรองราชการ การจัดหาผลประโยชน์จากสิ่งก่อสร้างและทรัพย์สิน ตรวจสอบงานของจังหวัดและสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน การเร่งรัดใบสำคัญและเงินยืมค้างชำระ การจัดเก็บภาษี การประเมินภาษี การเร่งรัดจัดเก็บรายได้ การพัฒนารายได้ การออกใบอนุญาตและค่าธรรมเนียมต่าง ๆ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง 2.1 งานบริหารงานคลัง 2.2 งานการเงิน 2.3 งานบัญชี 2.4 งานพัฒนาจัดเก็บรายได้ 2.5 งานทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ
อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลรอปรับปรุง
อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล

รอปรับปรุง
place สถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดสุโขทัย
อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยรอปรับปรุง
กำหนดจัดงาน กำหนดจัดงาน สถานที่จัดงาน อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัยและอนุสาวรีย์พระยาลิไท อำเภอศรีสัชนาลัย อำเภอศรีสัชนาลัยมีศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีหลากหลายแต่ดั้งเดิมมาเป็นหลายร้อยปี แต่แยกกันส่งเสริมเฉพาะด้านและยังมีประเพณีตามพงศาวดารที่น่าสนใจ อาทิเช่น พิธีบูชาไฟสมัยพญาลิไท, การล่องเรือแห่รอยพระพุทธบาทที่พญาลิไทโปรดให้จำลองมาจากเกาะลังกาในมหาสมุทรอินเดีย เป็นต้น สมควรที่จะบูรณาการให้เป็นเทศกาลต่อเนื่อง กิจกรรมภายในงานประกอบด้วย 1. ขบวนเรือพิธีอัญเชิญรอยพุทธบาทจำลองทางชลมาศ 2. แสดงสินค้า OTOP 3. เทศการอาหาร 4. ประกวดนางงาม 5. แข่งเรือ 6. แห่ช้างพ่อเมือง 7. รดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ 8. - ตักบาตรพระเขาวัดพนมเพลิงพระ 109 รูป - สลากภัตรพระ 109 รูป กำหนดการจัดงาน 1. ขบวนแห่นาคด้วยช้างจากบ้านเจ้าภาพมาพร้อมกันบริเวณวัดหาดเสี้ยว 2. นาครับศีลจากเจ้าอาวาสวัดหาดเสี้ยว ในอุโบสถวัดหาดเสี้ยว 3. ข้าราชการ ประชาชน กลุ่มมวลชน ชุดการแสดง วงดุริยางค์ พร้อมกัน ณ วัดหาดเสี้ยว 4. มีการแสดงของเด็กนักเรียนจากโรงเรียนต่าง ๆ 5. ประธานกล่าวเปิดงานประเพณีบวชช้างหาดเสี้ยว 6. ปล่อยขบวนแห่นาคด้วยช้าง จากวัดหาดเสี้ยวไปตามถนนสายสรีสัชนาลัย – สวรรคโลก (ในตลาดเทศบาลตำบลหาดเสี้ยว)จากนั้นแห่รอบหมู่บ้านหาดเสี้ยว (หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 2) 7. การทำขวัญนาคของแต่ละเจ้าภาพ ณ บ้านเจ้าภาพ1. ขบวนแห่นาคด้วยช้างจากบ้านเจ้าภาพมาพร้อมกันบริเวณวัดหาดเสี้ยว
งานเบิกฟ้า มหาประเพณี ศรีสัชนาลัยมรดกโลกรอปรับปรุง
กำหนดจัดงาน กำหนดจัดงาน วันที่ 24 มกราคม 2547 (วันขึ้น 3 ค่ำ เดือน 3 ของทุกปี) สถานที่จัดงาน ต้นยาง (ต้นประดาผึ้ง) ริมคลองข้างในบริเวณ วัดศรีคีรีสุวรรณาราม ต.ศรีคีรีมาศ จ.สุโขทัย อ. คีรีมาศ จ.สุโขทัย ตำบลศรีคีรีมาศ หรือบ้านท่าดินแดงในสมัยเดิมมีประเพณีการทำขวัญผึ้งเป็นประเพณีที่สืบเนื่องมาจากการส่งส่วยน้ำผึ้งแทนแรงงานราษฎรของชาวตำบลศรีคีรีมาศ การส่งส่วยเป็นการปฏิบัติตามพระราชกำหนดที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ซึ่งกำหนดไว้ว่าชายฉกรรจ์ไทยที่มีร่างกายสมประกอบมิได้เป็นบรรพชิต นักบวช มิใช่ไพร่สมสังกัดเจ้าขุนมูลนายใด ๆ ท่านให้สักข้อมือขึ้นบัญชีเป็นไพร่หลวง สังกัดนครหลวงหรือหัวเมืองต่าง ๆ เป็นกำลังของบ้านเมืองและประเทศชาติ และจะต้องไปเข้าเวรรับราชการให้หลวงท่านใช้แรงงานตลอดช่วงอายุ 18-60 ปี อยุธยาตอนปลาย จนถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้นได้มีการลดหย่อนให้ไพร่หลวงที่เกินความต้องการใช้แรงงาน ไม่ต้องเข้ารับราชการ โดยเสียค่าส่วยแทนแรงงานได้ หัวเมืองที่อยู่ห่างไกลเมืองหลวงไม่ต้องการตัวไพร่เข้าประจำการจึงได้กำหนดให้มีการส่งส่วยสิ่งของแทนแรงงาน เพราะหัวเมืองเหล่านี้มีป่าดงและภูเขา ซึ่งมีสิ่งที่บ้านเมืองหรือพระมหากษัตริย์ต้องการ ชาวตำบลศรีคีรีมาศอาศัยอยู่เชิงเขาหลวง ซึ่งอุดมไปด้วยป่าไม้และรังผึ้งมากมาย ต้องส่งส่วยน้ำผึ้งติดต่อกันมาเป็นเวลานาน การหารังผึ้ง การตีผึ้ง การทำขี้ผึ้ง จึงเป็นสิ่งที่ผูกพันกับการดำรงชีวิตของชาวตำบลศรีคีรีมาศตลอดมา ด้วยเหตุที่ต้องการให้มีผึ้งมาทำรังตามต้นไม้มาก ๆ จะไม้มีน้ำผึ้งเพียงพอแก่การส่งส่วยตามจำนวนที่เมืองหลวงกำหนด จึงได้เกิดประเพณีการทำขวัญผึ้งขึ้น ซึ่งเป็นการอัญเชิญผึ้งให้มาทำรังตามต้นไม้ที่ผึ้งเคยเกาะอยู่ ประเพณีการทำขวัญผึ้งจึงได้รับการปฏิบัติสืบทอดกันมาหลายชั่วอายุคน เพิ่งจะมาสูญหายไปเมื่อประมาณ 40 ปี เศษมานี้เอง ต่อมาจึงได้มีการดำเนินการฟื้นฟูประเพณีทำขวัญผึ้งขึ้นในตำบลศรีคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย ในวันขึ้น 3 ค่ำ เดือน 3 ซึ่งตรงกับวันครูที่ 16 มกราคม 2526 เพื่อเป็นการศึกษา วิเคราะห์ประเพณี รวมทั้งอนุรักษ์และส่งเสริมประเพณีการทำขวัญผึ้งสืบต่อไป กิจกรรมภายในงาน - การประกอบพิธีทำขวัญผึ้ง - การสาธิตการตีผึ้ง - กิจกรรมอื่น ๆ หน่วยงานที่รับผิดชอบ/ติดต่อสอบถาม องค์การบริหารส่วนตำบลศรีคีรีมาศ อ.คีรีมาศ จ.สุโขทัย
กำหนดจัดงาน กำหนดจัดงาน สถานที่จัดงาน บริเวณหน้าศาลากลางจังหวัดสุโขทัย ถ.นิกรเกษม ต.ธานี อ.เมือง จ.สุโขทัย พระแม่ย่าเป็นปูชนียบุคคลที่ชาวจังหวัดสุโขทัยให้ความเคารพนับถืออย่างสูงสุด เนื่องจากเชื่อว่า เป็นพระราชมารดาของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ซึ่งเป็นบูรพกษัตริย์ของประเทศไทยที่ได้รับการยกย่องในพระเกียรติคุณให้เป็นมหาราชพระองค์แรกของชาติไทย ประกอบกับพระแม่ย่าได้รับความเชื่อถือจากบุคคลทั่วไปว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ ผู้ใดขอลาภยศในทางที่ถูกที่ควรมักจะสมหวังอย่างทั่วหน้า การจัดงานสักการะพระแม่ย่าและงานกาชาดจังหวัดสุโขทัย มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชานได้สักการะพระแม่ย่า นมัสการ 9 พระพุทธสุดแผ่นดิน สักการะพระบรมราชานุสาวรีย์ รัชกาลที่ 5 และร่วมกิจกรรมการการกุศลกับเหล่ากาชาดจังหวัดสุโขทัย กิจกรรม - ขบวนแห่พิธีสักการะพระแม่ย่าของหน่วยงานภาครัฐ/ รัฐวิสาหกิจ เอกชน และประชาชน - การแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน - นิทรรศการแสดงของหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน - การออกร้าน จับสลากมัจฉากาชาดและกิจกรรมอื่นๆ ของเหล่ากาชาด - การจัดจำหน่ายสินค้าราคาถูก สินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ - การแสดงศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน - การประกวดธิดาพระแม่ย่าและกาชาดจังหวัด - การประกวดอาหารและขนมสุโขทัย - การแสดงมหรสพต่าง ๆ หน่วยงานที่รับผิดชอบ/ติดต่อสอบถาม สำนักงานจังหวัดสุโขทัย โทร./โทรสาร 0-5561-1619
สถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดสุโขทัย
อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย

รอปรับปรุง
กำหนดจัดงาน

กำหนดจัดงาน สถานที่จัดงาน อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัยและอนุสาวรีย์พระยาลิไท อำเภอศรีสัชนาลัย อำเภอศรีสัชนาลัยมีศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีหลากหลายแต่ดั้งเดิมมาเป็นหลายร้อยปี แต่แยกกันส่งเสริมเฉพาะด้านและยังมีประเพณีตามพงศาวดารที่น่าสนใจ อาทิเช่น พิธีบูชาไฟสมัยพญาลิไท, การล่องเรือแห่รอยพระพุทธบาทที่พญาลิไทโปรดให้จำลองมาจากเกาะลังกาในมหาสมุทรอินเดีย เป็นต้น สมควรที่จะบูรณาการให้เป็นเทศกาลต่อเนื่อง กิจกรรมภายในงานประกอบด้วย 1. ขบวนเรือพิธีอัญเชิญรอยพุทธบาทจำลองทางชลมาศ 2. แสดงสินค้า OTOP 3. เทศการอาหาร 4. ประกวดนางงาม 5. แข่งเรือ 6. แห่ช้างพ่อเมือง 7. รดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ 8. - ตักบาตรพระเขาวัดพนมเพลิงพระ 109 รูป - สลากภัตรพระ 109 รูป กำหนดการจัดงาน 1. ขบวนแห่นาคด้วยช้างจากบ้านเจ้าภาพมาพร้อมกันบริเวณวัดหาดเสี้ยว 2. นาครับศีลจากเจ้าอาวาสวัดหาดเสี้ยว ในอุโบสถวัดหาดเสี้ยว 3. ข้าราชการ ประชาชน กลุ่มมวลชน ชุดการแสดง วงดุริยางค์ พร้อมกัน ณ วัดหาดเสี้ยว 4. มีการแสดงของเด็กนักเรียนจากโรงเรียนต่าง ๆ 5. ประธานกล่าวเปิดงานประเพณีบวชช้างหาดเสี้ยว 6. ปล่อยขบวนแห่นาคด้วยช้าง จากวัดหาดเสี้ยวไปตามถนนสายสรีสัชนาลัย – สวรรคโลก (ในตลาดเทศบาลตำบลหาดเสี้ยว)จากนั้นแห่รอบหมู่บ้านหาดเสี้ยว (หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 2) 7. การทำขวัญนาคของแต่ละเจ้าภาพ ณ บ้านเจ้าภาพ1. ขบวนแห่นาคด้วยช้างจากบ้านเจ้าภาพมาพร้อมกันบริเวณวัดหาดเสี้ยว
งานเบิกฟ้า มหาประเพณี ศรีสัชนาลัยมรดกโลก

รอปรับปรุง
กำหนดจัดงาน

กำหนดจัดงาน วันที่ 24 มกราคม 2547 (วันขึ้น 3 ค่ำ เดือน 3 ของทุกปี) สถานที่จัดงาน ต้นยาง (ต้นประดาผึ้ง) ริมคลองข้างในบริเวณ วัดศรีคีรีสุวรรณาราม ต.ศรีคีรีมาศ จ.สุโขทัย อ. คีรีมาศ จ.สุโขทัย ตำบลศรีคีรีมาศ หรือบ้านท่าดินแดงในสมัยเดิมมีประเพณีการทำขวัญผึ้งเป็นประเพณีที่สืบเนื่องมาจากการส่งส่วยน้ำผึ้งแทนแรงงานราษฎรของชาวตำบลศรีคีรีมาศ การส่งส่วยเป็นการปฏิบัติตามพระราชกำหนดที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ซึ่งกำหนดไว้ว่าชายฉกรรจ์ไทยที่มีร่างกายสมประกอบมิได้เป็นบรรพชิต นักบวช มิใช่ไพร่สมสังกัดเจ้าขุนมูลนายใด ๆ ท่านให้สักข้อมือขึ้นบัญชีเป็นไพร่หลวง สังกัดนครหลวงหรือหัวเมืองต่าง ๆ เป็นกำลังของบ้านเมืองและประเทศชาติ และจะต้องไปเข้าเวรรับราชการให้หลวงท่านใช้แรงงานตลอดช่วงอายุ 18-60 ปี อยุธยาตอนปลาย จนถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้นได้มีการลดหย่อนให้ไพร่หลวงที่เกินความต้องการใช้แรงงาน ไม่ต้องเข้ารับราชการ โดยเสียค่าส่วยแทนแรงงานได้ หัวเมืองที่อยู่ห่างไกลเมืองหลวงไม่ต้องการตัวไพร่เข้าประจำการจึงได้กำหนดให้มีการส่งส่วยสิ่งของแทนแรงงาน เพราะหัวเมืองเหล่านี้มีป่าดงและภูเขา ซึ่งมีสิ่งที่บ้านเมืองหรือพระมหากษัตริย์ต้องการ ชาวตำบลศรีคีรีมาศอาศัยอยู่เชิงเขาหลวง ซึ่งอุดมไปด้วยป่าไม้และรังผึ้งมากมาย ต้องส่งส่วยน้ำผึ้งติดต่อกันมาเป็นเวลานาน การหารังผึ้ง การตีผึ้ง การทำขี้ผึ้ง จึงเป็นสิ่งที่ผูกพันกับการดำรงชีวิตของชาวตำบลศรีคีรีมาศตลอดมา ด้วยเหตุที่ต้องการให้มีผึ้งมาทำรังตามต้นไม้มาก ๆ จะไม้มีน้ำผึ้งเพียงพอแก่การส่งส่วยตามจำนวนที่เมืองหลวงกำหนด จึงได้เกิดประเพณีการทำขวัญผึ้งขึ้น ซึ่งเป็นการอัญเชิญผึ้งให้มาทำรังตามต้นไม้ที่ผึ้งเคยเกาะอยู่ ประเพณีการทำขวัญผึ้งจึงได้รับการปฏิบัติสืบทอดกันมาหลายชั่วอายุคน เพิ่งจะมาสูญหายไปเมื่อประมาณ 40 ปี เศษมานี้เอง ต่อมาจึงได้มีการดำเนินการฟื้นฟูประเพณีทำขวัญผึ้งขึ้นในตำบลศรีคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย ในวันขึ้น 3 ค่ำ เดือน 3 ซึ่งตรงกับวันครูที่ 16 มกราคม 2526 เพื่อเป็นการศึกษา วิเคราะห์ประเพณี รวมทั้งอนุรักษ์และส่งเสริมประเพณีการทำขวัญผึ้งสืบต่อไป กิจกรรมภายในงาน - การประกอบพิธีทำขวัญผึ้ง - การสาธิตการตีผึ้ง - กิจกรรมอื่น ๆ หน่วยงานที่รับผิดชอบ/ติดต่อสอบถาม องค์การบริหารส่วนตำบลศรีคีรีมาศ อ.คีรีมาศ จ.สุโขทัย
กำหนดจัดงาน

กำหนดจัดงาน สถานที่จัดงาน บริเวณหน้าศาลากลางจังหวัดสุโขทัย ถ.นิกรเกษม ต.ธานี อ.เมือง จ.สุโขทัย พระแม่ย่าเป็นปูชนียบุคคลที่ชาวจังหวัดสุโขทัยให้ความเคารพนับถืออย่างสูงสุด เนื่องจากเชื่อว่า เป็นพระราชมารดาของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ซึ่งเป็นบูรพกษัตริย์ของประเทศไทยที่ได้รับการยกย่องในพระเกียรติคุณให้เป็นมหาราชพระองค์แรกของชาติไทย ประกอบกับพระแม่ย่าได้รับความเชื่อถือจากบุคคลทั่วไปว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ ผู้ใดขอลาภยศในทางที่ถูกที่ควรมักจะสมหวังอย่างทั่วหน้า การจัดงานสักการะพระแม่ย่าและงานกาชาดจังหวัดสุโขทัย มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชานได้สักการะพระแม่ย่า นมัสการ 9 พระพุทธสุดแผ่นดิน สักการะพระบรมราชานุสาวรีย์ รัชกาลที่ 5 และร่วมกิจกรรมการการกุศลกับเหล่ากาชาดจังหวัดสุโขทัย กิจกรรม - ขบวนแห่พิธีสักการะพระแม่ย่าของหน่วยงานภาครัฐ/ รัฐวิสาหกิจ เอกชน และประชาชน - การแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน - นิทรรศการแสดงของหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน - การออกร้าน จับสลากมัจฉากาชาดและกิจกรรมอื่นๆ ของเหล่ากาชาด - การจัดจำหน่ายสินค้าราคาถูก สินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ - การแสดงศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน - การประกวดธิดาพระแม่ย่าและกาชาดจังหวัด - การประกวดอาหารและขนมสุโขทัย - การแสดงมหรสพต่าง ๆ หน่วยงานที่รับผิดชอบ/ติดต่อสอบถาม สำนักงานจังหวัดสุโขทัย โทร./โทรสาร 0-5561-1619
place ข้อมูลทั่วไป(ประวัติความเป็นมา)
สภาพทั่วไปลักษณะที่ตั้ง ตำบลหนองบัวตั้งอยู่ ในเขตอำเภอศรีนคร จังหวัดสุโขทัย ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอศรีนคร จังหวัดสุโขทัย อยู่ห่างจากอำเภอศรีนคร ประมาณ 8 กิโลเมตร เนื้อที่ มีเนื้อที่ทั้งหมด 39.04 ตารางกิโลเมตร หรือ 24,440 ไร่ ที่ราบ 23,873 ไร่ พื้นน้ำ 587 ไร่ ภูมิประเทศ ภูมิประเทศเป็นที่ราบ ไม่มีพื้นที่ป่าไม้ พื้นที่ 30% อยู่ในเขตชลประทานโครงการบ่อน้ำใต้ดิน อีก 70% อยู่นอกเขตชลประทาน และพื้นที่เกือบทั้งหมดอยู่ในเขตนิคมสหกรณ์หนองบัว ซึ่งมีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อ ตำบลคลองมะพลับ อำเภอศรีนคร ทิศตะวันออก ติดต่อ ตำบลรุม อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ และ ติดต่อตำบลปากน้ำ อำเภอสวรรคโลก ทิศใต้ ติดต่อ ตำบลปากน้ำ อำเภอสวรรคโลก ทิศตะวันออก ติดต่อ ตำบลปากน้ำ และ ตำบลในเมือง อำเภอสวรรคโลก ข้อมูลการปกครอง ลำดับที่ ประเภท จำนวน ( แห่ง ) 1 หมู่บ้าน 8 แห่ง 2 เทศบาลตำบล - 3 องค์การบริหารส่วนตำบล 1 แห่ง ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ หมู่บ้าน เร่งรัดพัฒนา อันดับ 1 เร่งรัดพัฒนา อันดับ 2 เร่งรัดพัฒนา อันดับ 3 หมู่ที่1 สุขภาพอนามัย โครงสร้างพื้นฐาน ความเข้มแข็งของชุมชน หมู่ที่2 การมีที่ดินทำกิน น้ำเพื่อการเกษตร ความเข้มแข็งของชุมชน หมู่ที่3 การมีที่ดินทำกิน ถนน ความเข้มแข็งของชุมชน หมู่ที่4 การมีที่ดินทำกิน โครงสร้างพื้นฐาน ความเข้มแข็งของชุมชน หมู่ที่5 ด้านความรู้และการศึกษา ถนน โครงสร้างพื้นฐาน หมู่ที่6 สุขภาพอนามัย ถนน ความเข้มแข็งของชุมชน หมู่ที่7 การมีที่ดินทำกิน ถนน ความเข้มแข็งของชุมชน หมู่ที่8 การมีที่ดินทำกิน น้ำเพื่อการเกษตร สุขภาพอนามัย รวม ระดับการพัฒนาหมู่บ้านของตำบล ตัวชี้วัดปัญหาของตำบล ( 1-10 ปัญหา ) ลำดับปัญหา ดัชนีชี้วัด หมู่บ้านที่ประสบปัญหา จำนวน ร้อยละ 1 การมีที่ดินทำกิน 5 62.5% 2 การตรวจสุขภาพประจำปี 1 12.5% 3 เด็กอายุ 15 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี 1 12.5% 4 การกีฬา 4 50% 5 การได้รับการศึกษา 5 62.5% รายได้เฉลี่ยต่อคน / ปี ลำดับปัญหา ประเภท รายได้เฉลี่ยต่อคน / ปี ( บาท ) 1 ระดับอำเภอ - 2 ระดับตำบล - - - หมู่ที่1 33,136 บาท - - หมู่ที่2 43,249 บาท - - หมู่ที่3 40,182 บาท - - หมู่ที่4 32,595 บาท - - หมู่ที่5 31,938 บาท - - หมู่ที่6 33,436 บาท - - หมู่ที่7 43,319 บาท - - หมู่ที่8 38,568 บาท - รายได้เฉลี่ยต่อคน / ปี จังหวัด - ข้อมูลเศรฐกิจตำบล ลำดับที่ ประเภท จำนวน ( แห่ง ) เงินทุน ( บาท ) 1 กองทุนหมู่บ้าน 8 16,000,000 บาท 2 กองทุนสัจจะออมทรัพย์ 8 2,326,830 บาท 3 OTOP 2 ความเข้มแข็งของชุมชน ข้อมูลด้านสังคม การศึกษา ลำดับที่ ประเภท จำนวน(แห่ง) จำนวนครู(คน) จำนวนนักเรียน(คน) 1 โรงเรียนประถมศึกษา ( ขยายโอกาส ) 1 18 305 2 โรงเรียนมัธยมศึกษา - - - 3 โรงเรียนพระปริยัติธรรม - - - 4 ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ 1 2
การศึกษารอปรับปรุง
ข้อมูลด้านสังคมรอปรับปรุง
ข้อมูลเศรฐกิจตำบลรอปรับปรุง
รายได้เฉลี่ยต่อคน/ปีรอปรับปรุง
ข้อมูลทั่วไป(ประวัติความเป็นมา)
สภาพทั่วไป

ลักษณะที่ตั้ง ตำบลหนองบัวตั้งอยู่ ในเขตอำเภอศรีนคร จังหวัดสุโขทัย ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอศรีนคร จังหวัดสุโขทัย อยู่ห่างจากอำเภอศรีนคร ประมาณ 8 กิโลเมตร เนื้อที่ มีเนื้อที่ทั้งหมด 39.04 ตารางกิโลเมตร หรือ 24,440 ไร่ ที่ราบ 23,873 ไร่ พื้นน้ำ 587 ไร่ ภูมิประเทศ ภูมิประเทศเป็นที่ราบ ไม่มีพื้นที่ป่าไม้ พื้นที่ 30% อยู่ในเขตชลประทานโครงการบ่อน้ำใต้ดิน อีก 70% อยู่นอกเขตชลประทาน และพื้นที่เกือบทั้งหมดอยู่ในเขตนิคมสหกรณ์หนองบัว ซึ่งมีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อ ตำบลคลองมะพลับ อำเภอศรีนคร ทิศตะวันออก ติดต่อ ตำบลรุม อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ และ ติดต่อตำบลปากน้ำ อำเภอสวรรคโลก ทิศใต้ ติดต่อ ตำบลปากน้ำ อำเภอสวรรคโลก ทิศตะวันออก ติดต่อ ตำบลปากน้ำ และ ตำบลในเมือง อำเภอสวรรคโลก ข้อมูลการปกครอง ลำดับที่ ประเภท จำนวน ( แห่ง ) 1 หมู่บ้าน 8 แห่ง 2 เทศบาลตำบล - 3 องค์การบริหารส่วนตำบล 1 แห่ง ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ หมู่บ้าน เร่งรัดพัฒนา อันดับ 1 เร่งรัดพัฒนา อันดับ 2 เร่งรัดพัฒนา อันดับ 3 หมู่ที่1 สุขภาพอนามัย โครงสร้างพื้นฐาน ความเข้มแข็งของชุมชน หมู่ที่2 การมีที่ดินทำกิน น้ำเพื่อการเกษตร ความเข้มแข็งของชุมชน หมู่ที่3 การมีที่ดินทำกิน ถนน ความเข้มแข็งของชุมชน หมู่ที่4 การมีที่ดินทำกิน โครงสร้างพื้นฐาน ความเข้มแข็งของชุมชน หมู่ที่5 ด้านความรู้และการศึกษา ถนน โครงสร้างพื้นฐาน หมู่ที่6 สุขภาพอนามัย ถนน ความเข้มแข็งของชุมชน หมู่ที่7 การมีที่ดินทำกิน ถนน ความเข้มแข็งของชุมชน หมู่ที่8 การมีที่ดินทำกิน น้ำเพื่อการเกษตร สุขภาพอนามัย รวม ระดับการพัฒนาหมู่บ้านของตำบล ตัวชี้วัดปัญหาของตำบล ( 1-10 ปัญหา ) ลำดับปัญหา ดัชนีชี้วัด หมู่บ้านที่ประสบปัญหา จำนวน ร้อยละ 1 การมีที่ดินทำกิน 5 62.5% 2 การตรวจสุขภาพประจำปี 1 12.5% 3 เด็กอายุ 15 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี 1 12.5% 4 การกีฬา 4 50% 5 การได้รับการศึกษา 5 62.5% รายได้เฉลี่ยต่อคน / ปี ลำดับปัญหา ประเภท รายได้เฉลี่ยต่อคน / ปี ( บาท ) 1 ระดับอำเภอ - 2 ระดับตำบล - - - หมู่ที่1 33,136 บาท - - หมู่ที่2 43,249 บาท - - หมู่ที่3 40,182 บาท - - หมู่ที่4 32,595 บาท - - หมู่ที่5 31,938 บาท - - หมู่ที่6 33,436 บาท - - หมู่ที่7 43,319 บาท - - หมู่ที่8 38,568 บาท - รายได้เฉลี่ยต่อคน / ปี จังหวัด - ข้อมูลเศรฐกิจตำบล ลำดับที่ ประเภท จำนวน ( แห่ง ) เงินทุน ( บาท ) 1 กองทุนหมู่บ้าน 8 16,000,000 บาท 2 กองทุนสัจจะออมทรัพย์ 8 2,326,830 บาท 3 OTOP 2 ความเข้มแข็งของชุมชน ข้อมูลด้านสังคม การศึกษา ลำดับที่ ประเภท จำนวน(แห่ง) จำนวนครู(คน) จำนวนนักเรียน(คน) 1 โรงเรียนประถมศึกษา ( ขยายโอกาส ) 1 18 305 2 โรงเรียนมัธยมศึกษา - - - 3 โรงเรียนพระปริยัติธรรม - - - 4 ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ 1 2
การศึกษา

รอปรับปรุง
ข้อมูลด้านสังคม

รอปรับปรุง
ข้อมูลเศรฐกิจตำบล

รอปรับปรุง
รายได้เฉลี่ยต่อคน/ปี

รอปรับปรุง